ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็น 2 ประเภทคือ
1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ (Proprietary Software)
2. ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั้วไป (Packaged Software) มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ (Customized Package)และโปรแกรมมาตฐาน (Standard Package)
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จำแนกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆดังนี้
1.กลุ่มการใช้งานทางด้านธุกิจ(Business)
2.กลุ่มการใช้งานด้านกราฟริกและมัลติมีเดีย (Graphic and Multimeddia)
3.กลุ่มการใช้งานบนเว็บ(Web and communications)
กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ (Business)
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองานและการบันทึกนัดหมายต่างๆตัวอย่างเช่น
โปรแกรมประมวลผลคำ อาทิ Microsoft Word , Sun Staroffice Wirter
โปรแกรม ตารางคำนวณอาทิ Microsoft Excel,Sun Star Office Cals
โปรแกรมนำเสนองาน อาทิ Microsoft Point,Sun StarOffice Impress
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟริกมัลติมีเดีย
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟริกและมัลตอมีเดีย เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและการออกแบบเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น
โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio Professional
โปรแกรมตกแต่งภาพอาทิ CorelDRAW,Adobe Photoshop
โปรแกรมตัดต่อวิดิโอและเสียง อาทิ Adobe Premiere,Pinnacle Studio DV
โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware, Toolbook Instructor,Adobe Director
โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash,Adobe Dreamweaver
กลุ่มการใช้งานบนเว็ยและการติดต่อสื่อสาร
เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเช็คอีเมล การท่องเว็บไซต์ การจัดการดูแลเว็บ และการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่
โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Outlook, Mozzila Thunderbird
โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer,Mozzila Firefox
โปรแกรม ประชุมทางไกล (Video Conference) อาทิ Microsoft Netmeeting
โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Instant Messaging) อาทิ MSN Messesger/Windows Messenger,ICQ
โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ PIRCH,MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยค ข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมาย บางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั้งงานการคำนวณทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์จะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง (Machine Languages)
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้า ใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นระหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Languages)
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์ (Assembler) เพื่อแปลชุดภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามยุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่2 ชนิด ด้วยกันคือ
คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเทอร์พรีเตอร์(Interpreter)
คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเทอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่งแล้วทำให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรีเตอร์จึงอยู่ที่การเปลี่ยนแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง
-การทำงานของระบบ Network และ Internet
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network : LAN)
เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นกันในองค์กรโดยส่วนใหญ่ลักษณะของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง LAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆกัน เช่น อยู่ภายในอาคาร หรือหน่วยงานเดียวกัน
2. เครือข่ายเมือง (Metropolitan Area Network : MAN)
เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง เช่น ในเมืองเดียวกันเป็นต้น
3.เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network : WAN)
เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับ โดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง LAN และ MAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียว ดังนั้นเครือข่ายนี้จึงครอบคลุมพื้นที่กว้าง โดยมีการครอบคลุมไปทั่วประเทศ หรือทั่วโลก เช่น อินเตอร์เน็ต ซึ่งถือว่าเป็นเครือข่ายสาธารณะที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ
วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555
ชนิดของระบบปฏิบัติการ สามารถจะแนกตามการใช้งานสามรถจำแนกออกได้เป็น
3 ชนิด ด้วยกัน คือ
1. ประเภทการใช้งานเดียว (Singgle-tasking) ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการดอส เป็นต้น
2.ประเภทการใช้งานหลายงาน (Multi tasking) ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันในหลายงานในขณะเดียวกัน ผู้ใช้สามารถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows 98 ขึ้นไป และ UNIX เป้นต้น
3.ประเภทใช้งานหลายคน (Multti-user)
ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง เพื่อให้ผู้ใช้ทุกคนสามารถทำงานเสร็จในเวลา เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows NT และ UNIX เป็นต้น
2.ตัวแปลภาษา
การพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษษระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ้งสร้างขึ้นให้ผู้เขียนโปรแกรมเชียนชุดคำสั่งได้ง่ายเข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้
ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา ซึ้งภาษาระดับสูงได้แก่ ภาษาBasic,Fortran,Pascal,Cobol,C และภาษาโลโก เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใชช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่ Fortran,Cobol และภาษาอาร์พีจี
ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Softwere)
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดการรพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น
3 ชนิด ด้วยกัน คือ
1. ประเภทการใช้งานเดียว (Singgle-tasking) ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการดอส เป็นต้น
2.ประเภทการใช้งานหลายงาน (Multi tasking) ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันในหลายงานในขณะเดียวกัน ผู้ใช้สามารถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows 98 ขึ้นไป และ UNIX เป้นต้น
3.ประเภทใช้งานหลายคน (Multti-user)
ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง เพื่อให้ผู้ใช้ทุกคนสามารถทำงานเสร็จในเวลา เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows NT และ UNIX เป็นต้น
2.ตัวแปลภาษา
การพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษษระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ้งสร้างขึ้นให้ผู้เขียนโปรแกรมเชียนชุดคำสั่งได้ง่ายเข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้
ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา ซึ้งภาษาระดับสูงได้แก่ ภาษาBasic,Fortran,Pascal,Cobol,C และภาษาโลโก เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใชช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่ Fortran,Cobol และภาษาอาร์พีจี
ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Softwere)
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดการรพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น
ประเภทซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1.ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS)
2. ตัวแปลภาษา
1.ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกกันย่อๆ ว่าโอเอส (Operating System : OS) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการ ที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
1.ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS)
1) ดอส (Disk Operating System : Dos)
2) วินโดวส์ (Windows) เป็นระบบปฏิบุติการที่พัฒนามาจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถสั่งงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอย่างเดียวนอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานพร้อมกันในหลายงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างบนจอภาพการใช้งานเน้นรูปแบบกราฟฟิก ผู้ใช้งสนสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้เพื่อเลือกตำแหน่งที่ปรากฏอยู่บนจอภาพ ทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย ระบบบฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
3)ยูนิกซ์ (Unix)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการยูนิกซเป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด(Open system)ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณืที่มียี่ห้อเดียวกันยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานที่มีลักษณะผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลาย
ภารกิจ (multitasking) ระบบปฏิบัติการยูนิกซจึงถูกนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย เพื่อใช้งานหลายเครื่องพร้อมกัน
4)ลีนุกซ์ (linux)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ เป็นระบบที่มีการแจกจ่าย โปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน เน่องจากมีโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์จำนวนมาก โดนเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในกลุ่มของกูส์นิว
(GNU)
และสิ่งสำคัญที่สุดคือระบบลุนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี(Free ware) ผู้ใช้สามารถใช้งานโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายระบบลีนุกซ์ สามารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูล เช่น (PC Intel) ดิจิตอล (Digital Alpha Computer) และซันวปาร์ค (Sun Sparc) ถึงแม้ว่าขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดว์สบนพีซีได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนลีนุกซ์กันมากขึ้น
5) แมคอินทอช (macintosh) เป็นระบบปฏิบัติการสนำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอช ส่วยมากนำไปใช้ด้านกรฟฟิก ออกแบบและจัดแต่งเอกสาร นิยมใช้สำนักพิมพ์ต่างๆ
นอกจากระบบปฏิบัติการที่กล่าวมายังมีระบบปฏิบัติการอีกมากมาย เช่น ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้คอมพิวเตอร์ใช้งานร่วมกันเป็นระบบ เช่น ระบบปฏิบัติการเน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้งาน
1.ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS)
2. ตัวแปลภาษา
1.ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกกันย่อๆ ว่าโอเอส (Operating System : OS) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการ ที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
1.ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS)
1) ดอส (Disk Operating System : Dos)
2) วินโดวส์ (Windows) เป็นระบบปฏิบุติการที่พัฒนามาจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถสั่งงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอย่างเดียวนอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานพร้อมกันในหลายงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างบนจอภาพการใช้งานเน้นรูปแบบกราฟฟิก ผู้ใช้งสนสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้เพื่อเลือกตำแหน่งที่ปรากฏอยู่บนจอภาพ ทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย ระบบบฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
3)ยูนิกซ์ (Unix)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการยูนิกซเป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด(Open system)ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณืที่มียี่ห้อเดียวกันยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานที่มีลักษณะผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลาย
ภารกิจ (multitasking) ระบบปฏิบัติการยูนิกซจึงถูกนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย เพื่อใช้งานหลายเครื่องพร้อมกัน
4)ลีนุกซ์ (linux)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ เป็นระบบที่มีการแจกจ่าย โปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน เน่องจากมีโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์จำนวนมาก โดนเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในกลุ่มของกูส์นิว
(GNU)
และสิ่งสำคัญที่สุดคือระบบลุนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี(Free ware) ผู้ใช้สามารถใช้งานโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายระบบลีนุกซ์ สามารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูล เช่น (PC Intel) ดิจิตอล (Digital Alpha Computer) และซันวปาร์ค (Sun Sparc) ถึงแม้ว่าขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดว์สบนพีซีได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนลีนุกซ์กันมากขึ้น
5) แมคอินทอช (macintosh) เป็นระบบปฏิบัติการสนำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอช ส่วยมากนำไปใช้ด้านกรฟฟิก ออกแบบและจัดแต่งเอกสาร นิยมใช้สำนักพิมพ์ต่างๆ
นอกจากระบบปฏิบัติการที่กล่าวมายังมีระบบปฏิบัติการอีกมากมาย เช่น ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้คอมพิวเตอร์ใช้งานร่วมกันเป็นระบบ เช่น ระบบปฏิบัติการเน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้งาน
คำสำคัญ
๑.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาระสนเทศสารสนเทศ หมายถึง ข่าวสารที่สำคัญเป็นระบบข่าวที่กำหนดขึ้นและจัดทำขึ้นภายในองค์การต่างๆ ตามความต้องการของเจ้าของหรือผู้บริหารองค์การนั้นๆ
- สารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที(IT)
เป็นเทคโนโลยีที่มีความสำคัญต่อสังคมในปัจจุบันมีความเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บ การประมวลผลและกานแสดงผลสารสนเทศ แบ่งเป็น ๒ ส่วน
๑.คอมพิวเตอร์
จัดเป็นเทคโนโลยีหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบันเนื่องจากคอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติครบถ้วนทั้งด้านการบันทึก การจัดเก็บ การประมวลผล การแสดงผลและการสืบค้นหาข้อมูลสารสนเทศเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แบ่งเป็นเทคโนโลยีย่อยที่สำคัญได้ ๒ ส่วนคือเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และเทคโนโลยีซอฟท์แวร์
๑.เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ทุกชนิดที่ประกอบขึ้นเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่ต่อพ่วงเพื่อเชื่อมโยงจำแนกตามหน้าที่การทำงานออกเป็น ๔ ส่วนคือ
๑.)หน่วยรับข้อมูล
๒.)หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU)๓.)หน่วยแสดงผลข้อมูล (Out Put Unit)
๔.)หน่วยความจำสำรอง
๒.เทคโนโลยีซอฟท์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์แบ่งเป็น ๒ ประเภทคือ
๑.)ซอฟท์แวร์ระบบ (System Software)
๒.)ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
๒.เทคโนโลยีการสือสารโทรคมนาคม
หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้ติดต่อสื่อสารกันทั่วไป เช่น โทรศัพท์ ระบบดาวเทียมและ ระบบสื่อสารอื่นๆที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)